บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2017
รูปภาพ
ไผ่โป๊ะ ชื่อท้องถิ่น: ชือวิทยาศาสตร์: Banbusa sp . ชื่อวงศ์: GRAMINEAE ลักษณะเด่น : พืชล้มลุกอายุหลายปี  เป็นไม้พุ่มเป็นกอ  ลำต้นตั้งตรง กลม  เป็นทรงกระบอก ใบเดี่ยว   เรียงสลับ 2 แถว   ใบรูปหอก ดอก  ช่อยาวออกตามซอกใบ และปลายกิ่ง ผล มี 1 เมล็ด ไผ่ออกดอกแล้วต้นจะ ตาย ประโยชน์ : ไม้ไผ่ใช้ ทำรั้ว ทำคันเบ็ด ทำเครื่องจักสาน เครื่องมือกสิกรรมบางอย่าง โป๊ะน้ำตื้น หน่อ กินได้   แก้ริดสีดวงทวารหนัก บำรุงร่างกาย ตา ใบ ขับฟอกล้างโลหิตระดูที่เสีย การ กระจายพันธุ์: ทั่วโลก ไผ่โปะ
กระท้อน ชื่อท้องถิ่น:ท้อน ชือวิทยาศาสตร์: Sandoricum koetjape ( Burm.f .) Merr ชื่อวงศ์:MELIACEAE ลักษณะเด่น : ไม้ต้น สูง 15 - 30 เมตร เปลือกสีเทา ใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบ การเกาะติดของใบบนกิ่งแบบเรียงสลับ ดอกช่อ ดอกสีเหลืองนวล ผล รูปกลมแป้น ผิวมีขนแบบกำมะหยี่อ่อนนุ่ม เมล็ดรูปรี มีปลอกเหนียวห่อหุ้ม ประโยชน์ : ทำอาหารคาวหวานได้ หลาย ใบ สด ใช้ขับเหงื่อ ต้มอาบแก้ไข้ เปลือกต้นต้มน้ำดื่มแก้ท้องเสีย รักษาโรคผิวหนัง กลากเกลื้อน ราก เป็นยาขับลม แก้ท้องเสีย การ กระจายพันธุ์: อิน โดจีนและมาเลเซียตะวันตก อินเดีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์
รูปภาพ
ไผ่รวก ชื่อท้องถิ่น: ชือวิทยาศาสตร์: Bambusa bambos (L.) Voss ชื่อวงศ์: GRAMINEAE ลักษณะเด่น : พืชล้มลุกอายุหลายปี  เป็นไม้พุ่มเป็นกอ  ลำต้นตั้งตรง กลม  เป็นทรงกระบอก ใบเดี่ยว   เรียงสลับ 2 แถว   ใบรูปหอก ดอก  ช่อยาวออกตามซอกใบ และปลายกิ่ง ผล มี 1 เมล็ด ไผ่ออกดอกแล้วต้นจะ ตาย ประโยชน์ : ไม้ไผ่ใช้ ทำรั้ว ทำคันเบ็ด ทำเครื่องจักสาน เครื่องมือกสิกรรมบางอย่าง โป๊ะน้ำตื้น หน่อ กินได้  แก้ริดสีดวงทวารหนัก บำรุงร่างกาย ตา ใบ ขับฟอกล้างโลหิตระดูที่เสีย การ กระจายพันธุ์: ทั่วโลก ไผ่รวก
รูปภาพ
ไผ่งาช้าง ชื่อท้องถิ่น: ชือวิทยาศาสตร์: Melocalamus compactifloras ( Kurz .) Benth . ชื่อวงศ์: GRAMINEAE ลักษณะเด่น : ลำต้น เป็น กอ ใหญ่ลำต้นสีเหลือง มีเหง้า ใต้ดิน ข้อ และ ปล้องกลวง กาบแข็ง มี ตาที่ ข้อ ใบเดี่ยวออก สลับ รูป หอก  ดอกช่อ ยาวออกตามซอกใบ และปลายกิ่ง ผล มี 1 เมล็ด ไผ่ออกดอกแล้วต้นจะ ตาย ประโยชน์ : หน่อไม้ใช้เป็น อาหาร  ใช้ จักสาน สร้างบ้าน ทำหมวก ทำตอกเย็บ ขอ ใบ ปรุงเป็นยาขับฟอกระดู ใบต้มกับน้ำขับ พยาธิ การ กระจายพันธุ์: ทั่วโลก ไผ่งาช้าง
ตะคร้อ ชื่อท้องถิ่น:- ชือวิทยาศาสตร์: Schleichera oleosa (Lour.) Oken ชื่อวงศ์:SAPINDACEAE ลักษณะเด่น : ไม้ต้น สูงประมาณ 40 เมตร ผลัด ใบ ใบประกอบ ดอกช่อ  ช่อดอกเพศเมียส่วนมากไม่แยกแขนง ช่อดอกเพศผู้ดอกออกเป็นกระจุกแยกแขนง  ดอกสี เขียวอ่อน  ประโยชน์ : ไม้ ใช้ทำฟืนและ ถ่าน ผล สุกรับประทานได้ รสเปรี้ยว ใบอ่อนรับประทานเป็นผักสด ใบแก่ใช้เลี้ยงสัตว์ เมล็ดให้น้ำมันใช้ใส่ผม ผสมสีย้อมผ้า แก้ผดผื่น คัน การ กระจายพันธุ์: ภูมิภาค อินโด จีน ไทยพบแทบ ทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ระดับความสูงจนถึงประมาณ 900 เมตร
มะคำดีควาย ชื่อท้องถิ่น: มะซัก ชือวิทยาศาสตร์: Sapindus rarak   A.DC. ชื่อวงศ์:SAPINDACEAE ลักษณะเด่น : ไม้ต้น สูงประมาณ 30 เมตร ใบ ประกอบแบบขน ดอก สีขาว แยกเพศอยู่ร่วมต้อน ออกเป็นช่อ ผล รูปร่างค่อนข้างกลม ประโยชน์ : ผลและเมล็ด ใช้ในการซักล้างแทนสบู่ การ กระจายพันธุ์:-
แดงน้ำ ชื่อท้องถิ่น:สาย ชือวิทยาศาสตร์: Pometia pinnata J. R. Forst & G. Forst . ชื่อวงศ์:SAPINDACEAE ลักษณะเด่น : ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงประมาณ 50 ม. ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ดอกแยกเพศร่วมผลแบบมีเมล็ดแข็ง   ประโยชน์ : ผลรับประทานได้ น้ำคั้นจากเปลือกใช้เป็นสมุนไพรรักษาแผล แผลไฟไหม้ แก้ไข้ ที่ไม่ร้ายแรง การ กระจายพันธุ์: พบในภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ไทยพบทุกภาค กระจายห่างๆ ในป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ชอบขึ้นตามริมลำธารที่โล่งใน ระดับค วาสูงไม่เกิน 1700 เมตร
ลักษณะประจำวงศ์ ถั่ว (FABACEAE) พบ ได้ทั้งไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม ไม้ต้น และไม้ เลื้อย พบทั้งใบเดี่ยว ใบประกอบแบบขนนก และใบประกอบแบบฝ่ามือ เรียงตัวแบบสลับ อาจพบมีหูใบ ดอกมี สมมาตรด้านข้างลักษณะของดอก เป็นรูปดอกถั่ว มี 5 กลีบ ฝักแบบแตกตรงตะเข็บทั้งสองข้าง หรือไม่แตก ฝักคอดเป็นข้อระหว่างเมล็ด ตามขวางของฝัก
รูปภาพ
ลักษณะประจำวงศ์  ลำไย    ( SAPINADACEAE ) — ลักษณะวิสัยที่หลากหลาย เช่น ไม้ต้น ไม้ล้มลุกหรือไม้เถาเนื้อแข็ง  ใบสลับแบบเวียน ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นใบประกอบแบบขนนก — SAPINADACEAE เป็นวงศ์ของพืช ดอก — พบได้ในภูมิภาคเขตอบอุ่นไปจนถึงเขตร้อนทั่วโลก
หลุมพอ ชื่อท้องถิ่น: ชือวิทยาศาสตร์: Intsia palembanica Miq . ชื่อวงศ์:FABACEAE ลักษณะเด่น : ไม้ ยืนต้นผลัด ใบ สูง 25 – 40 เมตร โคน ต้น เป็น พูพอนสูงใหญ่ ลำต้นเปลาตรง เปลือก เรียบ ใบ รูป หอกแกมรูป ไข่ ดอกสี เหลือง อ่อน ผล ฝัก เมล็ด รูปกลมแบน คล้าย ลูกสะบ้า ประโยชน์ : ไม้ ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจสูง ก่อสร้างอาคารบ้านเรือน ทำสะพาน เสา หมอนรางรถไฟ การ กระจายพันธุ์: ป่าดิบ ชื้นตามที่ราบทางภาคใต้และตุวันออกเฉียงใต้ ที่สูงจากระดับน้ำทะเลถึง 800 เมตร
ลำบิดดง ชื่อท้องถิ่น: ชือวิทยาศาสตร์: —  — Diospyros ferrea ( Willd .) Bakh.var ferrea ชื่อวงศ์: EBENACEAE ลักษณะเด่น :  — ม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ประมาณ 12 เมตร ใบเดี่ยวเรียง ดอกแยกเพศต่างต้น ผลแบบผลมีเนื้อหลายเมล็ด  ไทยพบกระจายห่างๆแถบจังหวัดนครพนม สุรินทร์ ระยอง ประจวบคีรีขันธ์ และระนอง ขึ้นตามสันเขาในป่าแล้งและป่าดิบชื้น ระดับความสูง 50-400 เมตร   ประโยชน์ : —-
มะพลับเจ้าคุณ ชื่อท้องถิ่น:- ชือวิทยาศาสตร์: — — Diospyros winitii Fletcher ชื่อวงศ์: EBENACEAE ลักษณะเด่น :  — ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ประมาณ 10 ม. ใบรูปรี กลีบเลี้ยงติดทน ขยายในผล ดอกแยกเพศต่างต้น พบเฉพาะทางภาคเหนือขึ้นตามป่าดิบแล้ง ระดับความสูง 200-1000 เมตร   ประโยชน์ : — เนื้อไม้ใช้ก่อสร้าง   และทำด้ามเครื่องมือเครื่องใช้ได้ทนทาน
ตะโกสวน   ชื่อท้องถิ่น:พลับ  มะพลับใหญ่ ชือวิทยาศาสตร์: —  Diospyros malabarica ( Desv .) Kostel . var. siamensis         ( Hochr .) Phengklai     ชื่อวงศ์: EBENACEAE ลักษณะเด่น : ไม้ต้น สูง  8 – 15 เมตร   ใบ เดี่ยว ดอกเล็ก  สีขาวหรือเหลืออ่อน ผล ค่อนข้างกลม      พบตามป่าดิบ ชอบขึ้นบริเวณแหล่งน้ำทั่ว ๆ ไป ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 50 –400 เมตร ประโยชน์ : เนื้อไม้ ใช้ทำเครื่องมือทางการเกษตร เครื่องกลึง และแกะสลัก เปลือกให้น้ำฝาดสำหรับฟอกหนัง ผลดิบ ให้สีน้ำตาลใช้ย้อมผ้า ผลแก่ รับประทานได้ เปลือก ต้มรับประทานแก้บิด  แก้ท้องร่วง เป็นยาสมานแผลและห้ามเลือด
ลักษณะประจำวงศ์มะเกลือ ( EBENACEAE ) — กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล  — ไม้ต้น หรือไม้พุ่ม เนื้อไม้มีสีดำ  — ดอกช่อ กลีบเลี้ยง 3-7 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นหลอดติดทนจนเจริญเป็นผล  — มะพลับ มะเกลือ ตะโกนา ตะโกสวน
รูปภาพ
— ลักษณะประจำวงศ์ กล้วยไม้ (ORCHIDACEAE ) ลักษณะ เด่นที่สังเกตได้ง่าย :  ล้าต้นเหนือดิน เก็บสะสมอาหาร เรียกว่า “ pseudobulb ” ( หัวเทียม )   มีกลีบ ปาก  มีเส้าเกสร — ลักษณะ วิสัย : ไม้ล้มลุกหลายฤดู ส่วนใหญ่เป็นพืชอิงอาศัย ซึ่งเกาะอาศัยแบบตั้งตรง ห้อยลง หรือมีเหง้าทอดไปตามพื้นที่ที่ ขึ้นอยู่ มีลำต้น หรือใบ อวบน้ำ ลำต้น ลักษณะสั้น และอวบคล้ายหัว สำหรับ เก็บสะสมอาหาร ( pseudobulb ) แยกได้เป็น 2 พวก คือ พวกที่เจริญเติบโตทางยอดไปได้เรื่อย ๆ และพวกที่เจริญเติบโตโดยสร้างหน่อใหม่ไปทางด้านหลัง — ใบเดี่ยว เรียงตัวแบบสลับ — ดอกเดี่ยว และดอกช่อ ดอกสมบูรณ์ เพศ เกสร เพศผู้ติดกับเกสรเพศเมียรวมกันเป็นแท่ง เรียกว่า “เส้าเกสร” — ผลเมื่อแก่เปลือกจะแห้ง และแตกออก ภายในมีเมล็ดขนาดเล็ก
รูปภาพ
— ปาล์มเจ้าเมืองตรัง ชื่อวิทยาศาสตร์ :— — Licuala elegans Blume ชื่อ สามัญ  :   - ชื่อ ท้องถิ่น  :   กะพล้อ, กะพ้อ,  จิ้ง ชื่อวงศ์ :  ARECACEAE— ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :    ไม้ พุ่ม สูง 2-5 เมตร ลำต้นมีหนาม ใบเดี่ยว มีขนาดใหญ่ สีเขียว เข้ม ใบ กลมใหญ่คล้ายใบพัด ดอกช่อ ออกเป็น แกนจาก ยอดหรือซอกใบ  สี ขาว ผลกลม ปลายแหลม อยู่บนฐานรองดอกที่มีลักษณะเป็นรูปถ้วยหนาคล้ายแผ่นหนัง สีน้ำตาล เมล็ดมี 1 เมล็ด —การกระจายพันธุ์: พม่า ไทยพบในป่าดิบชื้นทางภาคใต้ —ประโยชน์ : นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ การขยายพันธุ์  : ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด         ที่มา : www.dnp.go.th/Pattani_botany
รูปภาพ
กะเรกะร่อนปากเป็ด —ชื่อวิทยาศาสตร์ :   Cymbidium atropurpureum ( Lindl .) Rolfe ชื่อวงศ์: ORCHIDACEAE — ลักษณะ เด่น : ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ใบเดี่ยวเรียงสลับ ซ้อนทับกัน 2 แถว ช่อด อกยาวมากและห้อยลง สีเหลืองเข้ม มีเส้นแดงที่กลาง กลีบดอก — การกระจายพันธุ์: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใต้ หวัน ศรีลังกา — ประโยชน์ : นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
รูปภาพ
ปาล์มเจ้าเมือง ถลาง ชื่อท้องถิ่น:ปาล์มหลังขาว ปาล์มเจ้าเมืองภูเก็ต ชื่อ สามัญ  :  White Elephant  Palm ชื่อวิทยาศาสตร์ :  — Kerriodoxa   elegans   J.Dransf . ชื่อวงศ์ : ARECACEAE— ลักษณะเด่น  :  — ต้น เดี่ยวและไม่มีหน่อ สูง 3-4 เมตร ใบ รูปพัดกลม เนื้อใบบาง  ต้น แยกเพศ ลำต้นตั้งตรง    ใบ โคนก้านใบ แบบผ่ามือเป็นรูปทรงกลม รูปสามเหลี่ยมแผ่นใบพับจีบเป็นรางน้ำ หลังใบสีเขียวเข้ม ท้องใบสีขาว  แผ่น ใบคลี่ตัว โคนก้านใบไม่มี เส้น ใย ก้านใบ้ เกลี้ยงไม่มีหนาม ด้านบนใบสีเขียวอ่อนเป็นมัน ด้านท้องใบเป็นสีเงิน   ผล ออกเป็นทะลายสั้นๆที่โคนกาบล่าง ผลอ่อนกลมเกลี้ยง เปลือกสี เหลือง ผล สุกสีเหลืองแก่ ถึงสี ส้ม การ กระจายพันธุ์ : บริเวณป่าดิบชื้น ในเทือกเขาพระแทว อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ซึ่งเป็นถิ่นกำเนิดตามธรรมชาติดั้งเดิมจึงถือเป็นพืชถิ่นเดียว ของประเทศไทยและของโลก   ประโยชน์ : ใช้เป็นไม้ประดับ และจัดเป็นไม้หายาก  ปลูกประดับในกระถางและปรับตัวอยู่ในห้องปรับอากาศได้ดีเมื่อสูงกว่า 1 เมตร การ ขยายพันธุ์  : ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด               ที่มา : สำนักงานหอพรรณไม้
เม่าเหล็ก ชื่อท้องถิ่น:- ชือวิทยาศาสตร์: —  — Diospyros toposia Buch.-Ham.var.toposia ชื่อวงศ์: EBENACEAE ลักษณะเด่น: — ไม้ต้น สูงได้ประมาณ 20 ม. ใบเดี่ยวเรียงสลับ ดอกแยกเพศ ผลกลมรี ยาว 2-6 ซม. กลีบเลี้ยงติดทน มีขนนุ่มด้านใน พบคาบสมุทรมลายูและสุมาตรา ในไทยพบเฉพาะทางภาคใต้แถบจังหวัดนครศรีธรรมราช ปัตตานี และยะลา ระดับความสูงประมาณ 200 เมตร  — ประโยชน์ : -
รูปภาพ
ม้าวิ่ง —ชื่อวิทยาศาสตร์ :   — Doritis pulcherrima Lindl . ชื่อวงศ์: ORCHIDACEAE — ลักษณะเด่น : กล้วยไม้ ดิน มักพบขึ้นเป็นกอใหญ่บนลานหิน ลำต้นสูง 5-12 ซม. ใบ รูปรีแกมขอบ ขนาน ดอกช่อ ตั้งตามซอกใบ        กลีบ เลี้ยงและกลีบดอกสีม่วงอ่อนหรือสีม่วงแดง กลีบปากมีสีขาวแซมจากโคนกลีบ — การกระจายพันธุ์ : จีนตอนใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ — ประโยชน์ : นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
รูปภาพ
เอื้องปีกไก่ใหญ่ —ชื่อวิทยาศาสตร์ :   — Agrostophyllum planicaule ( Wall.ex Lind. ex ) Rc . ชื่อวงศ์: ORCHIDACEAE — ลักษณะเด่น  : กล้วยไม้ อิง อาศัย มีไหล  ใบรูป รี ดอกที่แทงมาจากซอกใบด้าน นอก  ดอกเล็กก ว่าหัวไม้ขีดไฟ  สี ออกเหลือง อ่อนๆ ให้ดอกทีละ 2-3 ดอก — การกระจายพันธุ์ : พม่า ภาคตะวันตกของไทย — ประโยชน์ : นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
ปาล์มเจ้าเมือง ถลาง ชื่อท้องถิ่น:ปาล์มหลังขาว ปาล์มเจ้าเมืองภูเก็ต —ชื่อวิทยาศาสตร์ :  — Livistona rotundifolia (Lam.) Mart —ชื่อวงศ์ : ARECACEAE— ลักษณะเด่น :  — ต้น เดี่ยวและไม่มีหน่อ สูง 3-4 เมตร ใบ รูปพัดกลม เนื้อใบบาง ด้านบนใบสีเขียวอ่อนเป็นมัน ด้านท้องใบเป็นสีเงิน ผล ออกเป็นทะลายสั้นๆที่โคนกาบล่าง —การกระจายพันธุ์: อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ —ประโยชน์ :  ปลูกประดับในกระถางและปรับตัวอยู่ในห้องปรับอากาศได้ดีเมื่อสูงกว่า 1 เมตร
รูปภาพ
ลักษณะประจำวงศ์ปาล์ม  ARECACEAE— ลักษณะเด่นที่สังเกตได้ง่าย : ส่วนใหญ่ใบมักจะออกเป็นกระจุกบริเวณยอดของลำต้น ผลมีเปลือกแข็ง ลำต้นไม่แตกแขนง  —ลักษณะวิสัย : ไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม่แตกกิ่งก้านสาขา มีข้อปล้องชัดเจน ลำต้นมีรอยก้านใบร่วงปรากฏอยู่  —ใบเดี่ยว หรือใบประกอบ โคนก้านใบแผ่เป็นกาบ ก้านใบมีหนาม  —ดอกช่อ หรือดอกเดี่ยว มีใบประดับขนาดใหญ่รองรับช่อดอก กลีบเลี้ยงคงทน จนเป็นผล รังไข่อยู่เหนือวงกลีบเลี้ยง  —ผลแบบเนื้อหลายเมล็ด หรือผลเมล็ดเดี่ยวเข็ง
รูปภาพ
พุงทะลาย ชื่อวิทยาศาสตร์ :— — Sterculia guttata Roxb . ชื่อวงศ์ : MALVACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :  — ไม้ ต้น สูงประมาณ 45 เมตร ผลัดใบ โคนต้นมีพูพอน เปลือกสี เทา ใบเดี่ยว เรียง แบบสลับ ดอก ช่อ สี เขียวอ่อน  ผลเป็นผลแห้งรูปกระสวย เมล็ดรีสีน้ำตาล ติดอยู่ด้านล่างของปีก —การกระจายพันธุ์:ประเทศไทยพบมากใน จ.จันทบุรี และอุบลราชธานี —ประโยชน์ : ผลแห้ง แช่น้ำดื่ม แก้ไอ แก้ร้อนในกระหายน้ำ
ปอแดง — ชื่อวิทยาศาสตร์ :— — Sterculia guttata Roxb . ชื่อวงศ์ : MALVACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :  — ไม้ ต้น สูง 8-15 ม. เปลือกเรียบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับที่ปลายกิ่ง ดอกช่อ สี เหลืองถึงสีแสด ออกเป็นช่อที่ปลาย กิ่ง ผล สีน้ำตาลรูปกระสวยโค้ง ผล แก่จะแตกมีเมล็ดสีดำ รูปรี จำนวน 4-6 เมล็ด —การกระจายพันธุ์:  — อินเดีย ศรี ลังกา เอเชีย ตะวันออกเฉียง ใต้ ประเทศไทย —ประโยชน์ : — เนื้อไม้เหนียว ตอกตะปูง่าย ใช้ทำไม้แบบหล่อคอนกรีต ลังใส่ของได้ดี