บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2017
รูปภาพ
ปาล์มเจ้าเมืองถลาง ชื่อ สามัญ : White Elephant Palm ชื่อท้องถิ่น : ปาล์มพระยาถลาง ปาล์มพญาถลาง ปาล์มทังหลังขาว ชื่อ วิทยาศาสตร์ : Kerriodoxa elegans J.Dransf . ชื่อวงศ์ : ARECACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ปาล์ม ลำต้นเดี่ยว ต้น แยกเพศ ลำต้นตั้งตรง ใบ โคนก้านใบ แบบผ่ามือเป็นรูปทรงกลม รูปสามเหลี่ยมแผ่นใบพับจีบเป็นรางน้ำ หลังใบสีเขียวเข้ม ท้องใบสีขาว แผ่น ใบคลี่ตัว โคนก้านใบไม่มี เส้น ใย ก้านใบ้ เกลี้ยงไม่มีหนาม ผลอ่อนกลมเกลี้ยง เปลือกสี เหลือง ผล สุกสีเหลืองแก่ ถึงสี ส้ม การ กระจายพันธุ์ : บริเวณ ป่าดิบชื้น ในเทือกเขาพระแทว อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ซึ่งเป็นถิ่นกำเนิดตามธรรมชาติ ดั้งเดิมจึง ถือเป็นพืชถิ่นเดียว ของ ประเทศไทยและของ โลก   ประโยชน์ : ใช้เป็นไม้ประดับ และจัดเป็นไม้หา ยาก การ ขยายพันธุ์  : ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด                 ที่มา : สำนักงานหอพรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์ ไทร (MORACEAE) v ไม้ พุ่ม   ไม้เถาเลื้อย  และพืชล้มลุก  v ลำ ต้นมักมียางสีขาวขุ่นคล้าย น้ำนม v ไม่ มีก้านดอก  เกิดเป็นช่ออัดกันแน่น   กลีบรองดอกและกลีบดอกมีลักษณะคล้ายกันเรียกว่ากลีบเลี้ยง  ( perianth v หู ใบเล็กมาก  ไม่ห่อหุ้มยอดอ่อน v ผล กลมแป้น  ขนาด ของความยาวเท่ากับความ กว้าง ที่มา : http:// www.dnp.go.th/pattani_botany.
เพกาพรุ ชื่อ สามัญ :   pheka phru ชื่อ ท้องถิ่น : เพกา พรุ ชื่อ วิทยาศาสตร์ : Radermachera pinnata (Blanco) Seem. ชื่อ วงศ์ : BIGNONIACEAE ลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์   :  ไม้ต้น สูง 10 เมตร ใบประกอบชั้นเดียว มีใบย่อย 2-4 คู่ รูปใบหอก แผ่น ใบด้านล่างมีต่อมสีดำกระจายเป็นแนว ช่อดอกออกตามปลาย กิ่ง แยก แขนงสั้น ๆ หลอดกลีบเลี้ยงปลายตัด    ดอก รูปทรงกระบอก สีขาวอมชมพู หลอดกลีบดอกยาว โคน คอด กลีบรูปรีกว้าง เกสร เพศผู้มีต่อมขนที่จุดติด ฝัก ออกเป็นกระจุก รูปแถบ ตรง ห้อยลง เมล็ด รูปแถบ ยาวประมาณ 2 ซม การ กระจายพันธุ์ : อินเดีย จีน พม่า ลาว คาบสมุทรมลายู และ ฟิลิปปินส์ ไทย พบทางภาคเหนือ และ ภาคใต้ ประโยชน์ : ฝักและยอดรับประทาน การ ขยายพันธุ์  : ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด    ที่มา : http://www.dnp.go.th/botany/detail.
ชะมวงกวาง ชื่อ สามัญ :  Cicada tree ชื่อ ท้องถิ่น : มวง กวาง , ส้มกวาง ชื่อ วิทยาศาสตร์ : Ploiarium alternifolium ( Vahl ) Melch . ชื่อ วงศ์ : BONNETIACEAE ลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์   :  ไม้ ต้น ใบเดี่ยว เรียง สลับหรือเวียนรอบกิ่ง ดอก ช่อ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง  กลีบรองดอก  5 กลีบ ขอบ กลีบเกยกันกลีบ ดอก 5 กลีบ  ขอบกลีบเกยซ้อนและพับคล้าย กังหัน เกสร เพศผู้มีมาก  รังไข่อยู่เหนือกลีบรองดอก มี  3-5  หน่วย ก้าน ชูเกสรเพศเมีย แยก หรือบางครั้งรวมกัน  มีไข่อ่อนมาก  ผล  ชนิดแห้งแล้วแตกจากโคนมาหา ปลาย การ กระจายพันธุ์ : เวียดนาม กัมพูชา ภาคใต้ ของไทย มาเลเซีย เกาะ สุมาตราและเกาะบอร์เนียว อินโดนีเซีย ประโยชน์ :   ยอดอ่อน,ใบอ่อน มีรสเปรี้ยวช่วยระบายท้อง แก้ไข้ กัดฟอกเสมหะ แก้ธาตุ พิการ การ ขยายพันธุ์  : ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด      ที่มา : http://www.dnp.go.th/Pattani_botany
ยาร่วงพรุ ชื่อ สามัญ : Little gooseberry tree ชื่อ ท้องถิ่น : จ้าม่วง , มะม่วงขี้กระต่าย, รัก ชื่อ วิทยาศาสตร์ : Buchanania arborescens (Blume) Blume ชื่อ วงศ์ : ANACARDIACEAE ลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์   :   ไม้ต้น สูง 20-35  เมตร ลำ ต้นเปลา ตรง เปลือกสีเทาถึงสีน้ำตาลเทา เรียบ    มี ช่องระบายอากาศเป็นตุ่มเล็ก ๆ หรือแตก สะเก็ด เมื่อ มีบาดแผลมียางสีขาวซึม ออกมา แล้วเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มหรือเกือบดำในเวลา ต่อมา ใบ รูป ไข่กลับ ด้านบน เกลี้ยงเป็น มัน ผล ค่อนข้าง กลม  ผิวเรียบ สุก สีแดงเข้มถึงเกือบ ดำ การ กระจายพันธุ์ : เอเชีย และอเมริกาใต้ ประโยชน์ :   เนื้อไม้ใช้ในงานก่อสร้าง การ ขยายพันธุ์  : ขยายพันธุ์ โดยการใช้เมล็ด        ที่มา : www.dnp.go.th/Pattani_botany
ยี่โถ ปีนัง ชื่อ สามัญ :  Bamboo orchid ชื่อ ท้องถิ่น : หญ้าจิ้มฟันควาย, เอื้องใบ ไผ่ ชื่อ วิทยาศาสตร์ : Arundina graminifolia (D. Don) Hochr. subsp. Graminifolia ชื่อ วงศ์ : ORCHIDACEAE ลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์   :  มีลักษณะลำต้นเป็นข้อเป็นปล้องคล้ายพืชตระกูลหญ้าหรือไผ่ ใบเรียวแหลม ดอกช่อๆ ที่ปลายยอดช่อละ ๑ - ๒ ดอก กลีบดอกมีสีขาวปนม่วงอ่อน ปลายดอกมีรูปกรวยโคนเล็กปากดอกบานออก มีสีชมพูอ่อนอมม่วง ลึกเข้าไปในกรวยมีสีเหลืองแซม ขาว การ กระจายพันธุ์ : ทุ่ง หญ้าบนภูเขาหรือไหล่เขาตามพื้นดินที่ค่อนชื้นแฉะ พบได้ทุกภาคของ ไทย ประโยชน์ :   ไม้ประดับ การ ขยายพันธุ์  : ขยายพันธุ์โดยการขุดย้ายหน่อ     ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/ยี่โถปีนัง
หลุมพี ชื่อ สามัญ : Asam paya ชื่อ ท้องถิ่น : กระลู บี, ลุบี ( นราธิวาส ) ชื่อ วิทยาศาสตร์ : Eleiodoxa conferta (Griff.) Burret ชื่อ วงศ์ : ARECACEAE ลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์   :   ต้น หรือเหง้าเตี้ย ยอดแตกเป็นกอ ใบยาว เป็น ทาง ลำ ต้นมีหนามแหลม ยาว    ผล เป็นทะลาย เปลือก ผลมีหนามแข็ง เล็ก ผล หนึ่ง ๆ มี 2-3 กลีบ เป็นส่วนมากเมื่อดิบมีรสฝาดและเปรี้ยว เมื่อสุกจะมีรสหวานอมเปรี้ยว เนื้ออ่อน บาง กลิ่นหอม ฉ่ำน้ำ การกระจายพันธุ์ : ป่าดิบชื้น ประโยชน์ : ผลรับประทาน และนำมาปรุงรสเปรี้ยวในอาหาร เช่น น้ำพริก ต้มยำ ต้มส้ม ข้าวยำ และอาหารหวาน  ก้านใบเมื่อ ลิดเอาหนามออกใช้กั้นทำเป็นฝาบ้าน  เนื้อไม้ ใช้ทำจุกขวดน้ำได้ การ ขยายพันธุ์  : ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด   ที่มา : สำนักงานหอพรรณไม้
ส้าน ใบใหญ่ ชื่อ สามัญ : san yai ชื่อ ท้องถิ่น : ส้าน ใหญ่ ( สุราษฏ์ ธานี ) ชื่อ วิทยาศาสตร์ : Dillenia obovata (Blume) Hoogland ชื่อ วงศ์ : DILLENIACEAE ลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์   :   ไม้ต้น ใบเดี่ยว ออก เวียนสลับ  ก้านใบมักแผ่เป็นครีบ  ดอกสมบูรณ์เพศ เกิด รวมกันเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง  กลีบรองดอก มี 5 กลีบ รังไข่มักเรียงชิดกัน  โดยเวียนรอบจุดศูนย์กลางของดอก  รังไข่แต่ละหน่วยมักมีไข่อ่อนจำนวนมาก ผล สดและผลแห้งและมักจะถูกห่อหุ้มอยู่ภายในกลีบรองดอกที่ขยายใหญ่ขึ้น  เมล็ดขนาดเล็ดและ มักมีเยื่อหุ้ม การกระจายพันธุ์ : พบทุกภาคของ ประเทศ ประโยชน์ : ผลแก่ รับประทานเป็นผักสดร่วมกับ น้ำพริก การ ขยายพันธุ์  : ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด     ที่มา : http://www.dnp.go.th/Pattani_botany
เชียด ชื่อ สามัญ : kradang nga , chiat , Wild cinnamon ชื่อ ท้องถิ่น : กระแจะโมง ( ยะลา ) กระดังงา  ( กาญจนบุรี )   ชื่อ วิทยาศาสตร์ : Cinnamomum iners Reinw. ex Blume ชื่อ วงศ์ : LAURACEAE ลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์   :   ไม้ ต้นสูง 15 – 20 เมตร เปลือกและใบมีกลิ่นหอมคล้ายอบเชย ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูป  ขอบขนาน เนื้อใบหนา เกลี้ยง แข็ง และกรอบ มีเส้นใบออกจากโคนใบ 3 เส้นยาวตลอดจนถึงปลายใบ  ดอกเล็ก สีเหลือง   ผล  รูปขอบขนาน แข็ง ตามผิวมีคราบขาว ๆ   การ กระจายพันธุ์ : พบตามพื้นที่ป่าทั่วไป ประโยชน์ : เปลือกแก้อ่อนขับลม แก้ปวดศีรษะ บำรุงกำลัง เปลือกต้ม แก้โรคหนองใน  และน้ำคาวปลา ใบปรุงเป็น  ยาหอม แก้ลมวิงเวียนและจุกเสียดแน่นและลงท้อง เป็นยาบำรุงกำลัง และบำรุงธาตุ การ ขยายพันธุ์  : ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด  ที่มา : สำนักงานหอพรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์ พญาสัตบรรณ (APOCYNACEAE) ลักษณะ เด่นที่สังเกตได้ง่าย     : มีน้ำยาง สีขาวขุ่น เหมือนน้ำนม หรือยางใส ใน ดอกตูม กลีบดอกจะบิดเวียนซ้อนทับกัน — ลักษณะวิสัย : ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม ไม้ต้น และไม้ปีนป่าย — ใบเดี่ยว ส่วนใหญ่เรียงเป็นคู่ตรงกันข้าม ขอบ ใบเรียบ มีหูใบ — ดอก : กลีบ เลี้ยง 4-5 เชื่อมติดกัน กลีบดอก 5 เชื่อมติดกันเป็น หลอดแบบ กรวย หรือลำโพง ในดอกตูมกลีบดอกจะบิดเวียนซ้อนทับกัน — ผล มี หลายแบบเช่น ผล แห้งแตกตรงตะเข็บเพียงด้านเดียว หรือผลเมื่อแก่เปลือกจะแห้งและแตก ออก
รูปภาพ
พญาสัตบรรณ ชื่อ สามัญ : Dita , Shaitan wood, Devil Tree ชื่อ ท้องถิ่น : ตีนเป็ด  ตีนเป็ดดำ หัส บรรณ หัส บัน จะบัน ชื่อ วิทยาศาสตร์ : Alstonia scholaris (L) R.Br .  ชื่อ วงศ์ : APOCYNACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เปลือกหนาแต่เปราะ ผิวต้นมีสะเก็ดเล็ก ๆ สีขาวปนน้ำตาลกรีดดูจะมียางสีขาวลำต้นตรง ใบเป็นกลุ่มบริเวณปลายกิ่งช่อหนึ่งมีใบประมาณ 5-7 ใบ ก้านใบสั้น แผ่นใบรูปรีแกมรูปขอบขนานถึงรูปหอกแกมรูปขอบ ดอกสีเขียวอ่อนเป็นช่อตามปลายกิ่ง ดอกมีกลิ่นฉุนรุนแรง ผลเป็นฝักยาว ฝักคู่หรือเดี่ยว ลักษณะเป็นเส้นๆ เมื่อแก่จะแตก มีขุยสีขาวคล้ายฝ้ายปลิวไปตามลมได้ในฝักมีเมล็ดเล็กๆ ติดอยู่กับขุยนั้น การ กระจายพันธุ์ : พืชท้องถิ่นในเขตร้อน พบได้ในประเทศอินเดีย จีนตอนใต้ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ประโยชน์ : ใช้เปลือกต้นพญาสัตบรรณรักษาโรคบิด ลำไส้ติดเชื้อ และมาลาเรีย ใบใช้ในการรักษาโรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง การ ขยายพันธุ์  : ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ดและปักชำ    ที่มา : สำนักงานหอพรรณไม้
รูปภาพ
กระบาก ชื่อ สามัญ : - ชื่อ ท้องถิ่น : พนอง ( ตราด ), ประดิก(สุรินทร์) ชื่อ วิทยาศาสตร์ : Anisoptera costata Korth . ชื่อ วงศ์ : DIPTEROCARPACEAE ลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์   :   ไม้ต้น สูง 20 - 30 เมตร โคน ต้นมักเป็น พูพอน เปลือกสี น้ำตาลเทา แตกเป็นร่องตามความยาวของลำ ต้น ใบ เดี่ยวเรียงสลับแผ่นใบรูป ขอบ ขนาน ดอก เล็กสีขาวปนเหลืองอ่อนออกรวมกันเป็นช่อตามง่ามใบ และปลาย กิ่ง ผล กลมผิวเรียบ มีปีก ยาว 2 ปีก รูปไข่กลับ และปีกสั้น 3 ปีก การกระจายพันธุ์ : ป่าดิบ ชื้น ประโยชน์ : เนื้อ ไม้สีน้ำตาลปนเหลือง เนื้อหยาบ ใช้ทำไม้แบบ ลังใส่ของ เสา ฝา พื้น ตง รอด ชันใช้ผสมน้ำมันทาไม้ น้ำมันชักเงา ยาแนวไม้และ เรือ การ ขยายพันธุ์  : ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด   ที่มา : สำนักงานหอพรรณ ไม้
รูปภาพ
มะไฟกา ชื่อ สามัญ : Chinese lantern tree ชื่อ ท้องถิ่น : ส้มไฟป่า, ส้มไฟดิน ชื่อ วิทยาศาสตร์ : Baccaurea parviflora ( Müll . Arg.) Müll . Arg . ชื่อวงศ์ : PHYLLANTHACEAE ลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ยืนต้น เปลือกต้นสีน้ำตาล ใบ เดี่ยว ดอกช่อออก ที่ลำต้นและปลายกิ่งเป็น ช่อ    ดอกแยกเพศแยกต้น ดอกตัวผู้มีกลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ มีขนสีขาวปกคลุม ดอกตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่า ผลกลม เปลือกหุ้มเหนียวและหนา แก่แล้วผลเป็นสีแดงแกมม่วง เนื้อหุ้มเมล็ดสีเหลืองอ่อน รสเปรี้ยว เมล็ดกลมแบน การ กระจายพันธุ์ : ป่าดิบชื้น ประโยชน์ : ผล สุกรับประทานสด มีวิตามินซีสูง สรรพคุณช่วยขับเสมหะ รักษาอาการอาหารไม่ย่อย ท้องอืด ท้องเฟ้อ รากแก้พิษตานซาง แก้วัณโรค ฝี ดับพิษร้อนและเริม ลดอาการ อักเสบ การ ขยายพันธุ์  : ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด  ที่มา : https มะไฟกา มะลิไฟกา มะไฟกา มะไฟกา :// th.wikipedia.org/wiki
รวงผึ้ง ชื่อ สามัญ : Yellow star ชื่อ ท้องถิ่น : ดอกน้ำผึ้ง (เหนือ)  น้ำผึ้ง (กรุงเทพ) ชื่อ วิทยาศาสตร์ : Schoutenia glomerata King subsp. peregrina ( Craib ) Roekm . ชื่อ วงศ์ : MALVACEAE ลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์   :   ไม้ ยืนต้น ใบเดี่ยวเรียงสลับ ดอกช่อ มี กลิ่นหอมตลอดทั้ง วัน ช่อ ดอกดกเกิดตามซอกใบเป็นช่อสั้น เป็นผลแห้ง ทรงกลม มีขน เมื่อแก่จะไม่แตก การ กระจายพันธุ์ : ประเทศไทย (พบมากทางภาคเหนือ)  ประโยชน์ : นำมาปลูกเป็นไม้ประดับ ดอกสวยงามออกเต็มต้น มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ให้ร่มเงา ปลูกเลี้ยงง่าย ทนแ รวงผึ้ง      ที่มา : http:// www.royalparkrajapruek.org/Knowledge  http:// www.royalparkrajapruek.org/Knowledge
รูปภาพ
เคี่ยม ชื่อ สามัญ : - ชื่อ ท้องถิ่น : เคี่ยม ขาว, ไม้ไหม้, เคี่ยมแดง ชื่อ วิทยาศาสตร์ : Cotylelobium lanceolatum Craib ชื่อ วงศ์ : DIPTEROCARPACEAE ลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์   :   ไม้ต้น สูง 20 - 40 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ รูปเจดีย์ต่ำ ๆ ลำต้นตรง เปลือก  เรียบ สีน้ำตาลเข้ม มีรอยด่างสีเทาและเหลืองสลับ มีต่อมระบายอากาศกระจายทั่วไป ใบรูป ไข่ปลาย ใบสอบ เรียว หรือหยักเป็นติ่งยาวโคนมน หลังใบเรียบเป็นมัน ท้องใบมีขนสีน้ำตาลปนเหลืองเป็นกระจุก ดอกสีขาวกลิ่นหอมอ่อน ๆ ออกเป็นช่อยาวตามปลายกิ่งและง่ามใบ ผลกลม เล็ก มีขนนุ่ม มีปีกยาว 2 ปีก ปีกสั้น 3 ปีก การกระจายพันธุ์ : ป่าดงดิบใน ภาคใต้ ประโยชน์ : เนื้อ การ ขยายพันธุ์  : ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด    ที่มา : http://www.dnp.go.th/EPAC/province_plant/suratthani